ไม่มีบทความ
ไม่มีบทความ

บทที่ 8 นวัตกรรมการศึกษา


บทที่ 8 นวัตกรรมการศึกษา
....................บทเรียนโปรแกรมการลำดับประสบการณ์ที่จัดวางไว้สำหรับนำผู้เรียนไปสู่ความสามารถโดยอาศัยหลักความสัมพันธ์ของสิ่งเร้ากับการตอบสนองพื้นฐานทางจิตวิทยาของบทเรียนโปรแกรม เป็นทฤษฎีแนวพฤติกรรมนิยม ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองและการเสริมแรง อาจเป็นไปได้ทั้งพฤติกรรมทางสมอง กล้ามเนื้อ และความรู้สึกการเสริมแรงเป็นการกระทำให้การตอบสนองของผู้เรียนมีความหมาย และเป็นไปตามที่ผู้สอนปรารถนาทุกครั้ง..............................ลักษณะของบทเรียนโปรแกรม................1. การแบ่งขั้นการเรียนรู้เป็นหน่วยย่อยๆ และเรียงลำดับจากง่ายไปสู่ยาก................2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนอย่างกระฉับกระเฉง................3. ให้ผู้เรียนได้ทราบผลการเรียนของตนอย่างทันทีทันใด................4. ให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเรียนเป็นระยะๆ.............................ประเภทของบทเรียนโปรแกรม................1. แบบเส้นตรง ให้ผู้เรียนทุกคนเรียนผ่านกรอบของบทเรียนทุกกรอบ ตั้งแต่กรอบที่ 1 ไปจนถึงกรอบสุดท้าย................2. แบบสาขา- กรอบยืนหรือกรอบหลัก ทุกคนต้องเรียนผ่าน- บทเรียนโปรแกรมแบบสาขา เหมาะสำหรับการใช้สอนในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา การวิเคราะห์ข้อดีและข้อจำกัดของบทเรียนโปรแกรมข้อดี ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนด้วยตนเอง สามารถแก้ไขความเข้าใจผิดได้ทันทีถ้าตอบผิด ถ้าตอบถูกก็มีการเสริมแรงให้เกิดกำลังใจ สนรองความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ดีข้อจำกัด ไม่เหมาะสมสำหรับการสอนเนื้อหาวิชาที่ต้องการคำตอบในแง่ความคิดชุดการสอนคือ ชุดของสื่อหลายๆชนิดหรือที่เรียกว่าสื่อประสมที่จัดไว้เป็นกล่องหรือซองตามลักษณะของเนื้อหาวิชา เพื่อรวบรวมเอกสารและประสบการณ์ต่างๆสำหรับช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ.............................ทฤษฎีที่ทำให้เกิดชุดการสอน.................1.การใช้สื่อประสม.................2.การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์.................3.การใช้จิตวิทยาการเรียนรู้มาจัดสภาพในการเรียน..............................ประเภทของชุดการสอน................1.ชุดการสอนประกอบคำบรรยาย................2.ชุดการสอนแบบกลุ่มเล็กและชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน................3.ชุดการสอนรายบุคคลองค์ประกอบของชุดการสอน1.คำชี้แจง2.จุดมุ่งหมาย3.การประเมินผลเบื้องต้น...............4.รายการเนื้อหาวิชาและสิ่งที่เกี่ยวข้องอื่นๆ...............5.การกำหนดกิจกรรม...............6.การประเมินผลขั้นสุดท้าย...........................ประโยชน์ของชุดการสอน...............1.เร้าความสนใจของผู้เรียน...............2.การเรียนรู้เป็นอิสระจากอารมณ์ของครู...............3.ขจัดปัญหาในการขาดแคลนครู สนับสนุนการศึกษานอกโรงเรียน...............4.แก้ปัญหาความแตกต่างๆระหว่างบุคคล...............5.ผู้เรียนสามารถรับทราบผลความก้าวหน้าของตนเอง...............6.ให้ความสะดวกและสร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้แก่ครูศูนย์การเรียนคือ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนโดยมุ่งให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจากโปรแกรมการเรียน ซึ่งจัดไว้ในรูปชุดการเรียนการสอนรายกลุ่มหรือรายบุคคล.............................แนวคิดในการจัดศูนย์การเรียน...............1.การให้ผู้เรียนลงมือทำกิจกรรมด้วยตนเอง...............2.ให้รับทราบผลการกระทำในทันที..............3.ให้มีโอกาสเกิดความภาคภูมิใจ..............4.ให้เรียนไปทีละน้อยตามลำดับขั้น............................ประเภทศูนย์การเรียน................1.ศูนย์การเรียนในห้องเรียน................2.ศูนย์การเรียนเอกทัศ- ศูนย์การเรียนสำหรับครู เป็นห้องปฏิบัติการวิธีสอน- ศูนย์วิชาการ สำหรับนักเรียน เพื่อให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง- ศูนย์การเรียนชุมชน เป็นสถานศึกษาที่เปิดโอกาสให้บุคคลทุกเพศทุกวัยเข้ามาศึกษาในเรื่องที่สนใจการสอนแบบศูนย์การเรียนเป็นการจัดสภาพห้องเรียนรูปแบบใหม่ ที่เน้นให้ผู้เรียนประกอบกิจกรรมในการเรียนด้วยตนเองตามโปรแกรมการสอนที่จัดไว้ในศูนย์กิจกรรมต่างๆ.............................ขั้นตอนการเรียนในศูนย์การเรียน................1.ทดสอบก่อนเรียน................2.นำเข้าสู่บทเรียน................3.ดำเนินกิจกรรมการเรียนโดยแบ่งกลุ่มผู้เรียน................4.สรุปบทเรียน................5.ประเมินผลการเรียน................................ประโยชน์ของศูนย์การเรียน...............1.สร้างบรรยากาศในการเรียน เพิ่มความสนใจของผู้เรียน...............2.ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง...............3.ช่วยสร้างบรรยากาศแห่งเสรีภาพในการแสดงความคิด...............4.ส่งเสริมการทำงานเป็นหมู่คณะการสอนแบบจุลภาคคือ การสอนในสถานการณ์จำลองห้องเรียนง่ายๆ เป็นการอสนมุ่งฝึกทักษะเฉพาะในการสอน..............................หลักเกี่ยวกับการสอนแบบจุลภาค...............1.การเสริมแรง...............2.การรับรู้ผลย้อนกลับ...............3.การฝึกซ้ำหลายๆครั้ง...............4.การถ่ายโยงการเรียน.................................ทักษะการสอนแบบจุลภาค...............1.ทักษะสำหรับครูเป็นศูนย์กลาง...............2.ทักษะผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง................................ขั้นตอนการสอนแบบจุลภาค................1.ขั้นศึกษาทักษะที่ต้องการฝึก................2.ขั้นเลือกเนื้อหาและวางแผนการสอน................3.ขั้นสอน................4.ขั้นวิเคราะห์ผลการสอน............... 5.ขั้นตัดสินใจ................6.ขั้นจบกระบวนการสอน................................ข้อดีและข้อจำกัดการสอนแบบจุลภาคข้อดี..................ใช้ในการทดลองสอนและปรับปรุงวิธีสอน ใช้ทดลองสอนเพื่อปรับปรุงเนื้อหาในหลักสูตร ใช้ฝึกทักษะและสมรรถภาพในการสอนให้กับครู เปิดโอกาสให้ผู้สอนทดลองสอนจนพอใจข้อจำกัด ผู้ฝึกไม่ได้พบสภาพห้องเรียนจริง การสอนแบบจุลภาคใช้ประกอบการสอนแต่ไม่ใช้แทนการฝึกสอนการสอนเป็นคณะเป็นวิธีดำเนินการสอนแบบที่เน้นการใช้บุคลากรให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โดยจัดให้ครูร่วมกันวางแผนจัดการเรียนการสอน ประเมินผล และรับผิดชอบเด็กกลุ่มเดียวกัน...............................วัตถุประสงค์ของการสอนเป็นคณะ................1.ปรับปรุงประสิทธิภาพของการสอน................2.ส่งเสริมการดำเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย................3.มีเวลาให้ผู้เรียนมาก................4.แก้ปัญหาจำนวนนักเรียนในห้องเรียน................5.ส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ................6.แก้ปัญหาความไม่ยุติธรรม..................................รูปแบบการสอนเป็นคณะ................1.แบบมีผู้นำ................2.แบบไม่มีผู้นำ................3.แบบครูพี่เลี้ยง..................................วิธีดำเนินการสอนเป็นคณะ................1.การสอนเป็นกลุ่มใหญ่................2.ความคิดรวบยอด...............3.การสอนเป็นกลุ่มเล็ก...............4.การค้นคว้าด้วยตนเอง..................................ข้อดีและข้อจำกัดของการสอนเป็นคณะข้อดี................ครูมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการ ครูใช้ความถนัดและความสามารถของตนได้อย่างเต็มที่ ทำให้ครูใหม่ได้มีโอกาสได้ฝึกงานให้เกิดความชำนาญ ผู้เรียนมีประสบการณ์กว้างขวางข้อจำกัด ต้องเสียเวลาในการเตรียมงานมาก ความสำเร็จของการสอนขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบและความร่วมมือของครูการสอนทางไกลหมายถึง ระบบการศึกษาที่ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ไกลกันแต่สามารถทำให้เกิดการเรียนรู้โดยอาศัยสื่อการสอนในลักษณะสื่อประสม เช่น ตำราเรียน เทปบันทึกเสียง